การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารตามรูปแบบ PPP (การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวธรรมชาติ)
PPP การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวธรรมชาติ
รูปแบบการสอนภาษาเพื่อสื่อสารตามธรรมชาติ
เป็นการบูรณาการวิธีการสอนต่าง ๆ
วิธีสอนแบบ 3P หรือ 3 ขั้นตอน ได้แก่
❃! ขั้นนำ เสนอ (Presentation)
❃! ขั้นฝึก (Practice)
❃! ขั้นนำ ไปใช้ (Production)
วิธีสอนแบบ 3P หรือ 3 ขั้นตอน ได้แก่
❃! ขั้นนำ เสนอ (Presentation)
❃! ขั้นฝึก (Practice)
❃! ขั้นนำ ไปใช้ (Production)
1. ครูนำ เสนอบทเรียนในขั้นนำ เสนอ (P1 =
Presentation) โดยนำ เสนอเป็นรูปประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร (Whole
Language) ไม่แยกสอนเป็นคำ ๆ นักเรียนจะเข้าใจภาษานั้นโดยภาพรวม
หลีกเลี่ยงการแปลคำ ต่อคำ การนำ เสนอต้องชัดเจน
และตรวจสอบจนแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจสิ่งที่ครูนำ เสนอนั้น
2. ครูใช้กิจกรรมในขั้นฝึก (P2 = Practice) อย่างหลากหลาย โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ฝึกหัดและพูดในกลุ่มใหญ่ (Whole
Group) ก่อน เพื่อให้นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษา
ฝึกกลุ่มย่อยโดยใช้การฝึกลูกโซ่ (Chain Drill) เพื่อให้โอกาสนักเรียนได้สื่อสารทุกคน
ฝึกคู่ (Pair Work) เปลี่ยนกันถาม-ตอบ
เพื่อสื่อสารตามธรรมชาติ แล้วจึงให้นักเรียนฝึกเดี่ยว (Individual) โดยฝึกพูดกับครูทีละคน การฝึกเดี๋ยวนี้ครูจะเลือกนักเรียนเพียง 2-3
คน เพื่อทำ เป็นตัวอย่างในแต่ละครั้ง กิจกรรมขั้นนี้ใช้เวลา
แต่นักเรียนจะได้ปฏิบัติจริง ครูเพียงแต่คอยกำ กับดูแลให้การฝึกดำ
เนินไปอย่างมีความหมายและสนุก
3. กิจกรรมขั้นนำ เสนอผลงาน P3 (Production) เป็นขั้นที่นักเรียนจะนำ ภาษาไปใช้ ครูอาจจะให้ทำ แบบฝึกหัด
อ่านและเขียนร้องเพลง หรือเล่นเกม
ที่สืบเนื่องและเกี่ยวข้องกับภาษาที่เรียนมาในขั้นที่ 1 และ 2
อาจให้ทำ งานเป็นการบ้านหรือสร้างสรรค์ผลงาน
4. ใหม่จากความคิดของนักเรียนเอง ยกตัวอย่างเช่น
นักเรียนได้เรียนเรื่องเวลา กำหนดเวลา ถาม-ตอบ เกี่ยวกับเวลาแล้วก็สามารถคิดตารางเวลาเพื่อกำหนดการเดินรถโดยสารของตนเองโดยสมมุติได้ในการจัดกิจกรรมขั้นฝึกและนำ
เสนอผลงาน สามารถนำกิจกรรมเสริมทางภาษาที่ครูมีความถนัด เช่น เกมทางภาษา
เพลงหรือกิจกรรมเกี่ยวกับจังหวะ การวาดภาพ ฯลฯ มาใช้เพื่อช่วยส่งเสริมความคิด
และช่วยให้การจัดการเรียนการสอนภาษาเป็นภาษาเพื่อการสื่อสาร
โดยสอนทักษะฟัง-พูด-อ่าน และเขียนไปพร้อม ๆกัน
ด้วยวิธีบูรณาการทักษะที่ให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง
สื่อการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนภาษา
เพื่อสื่อสารตามธรรมชาติ จะใช้สื่อตามสภาพจริง ควบคู่กับสื่อที่ผลิตขึ้นมา
สื่อดังกล่าว ได้แก่
1. ของจริง (Reality)
2. ภาพที่ผลิตขึ้นเองและภาพจากหนังสือพิมพ์ (Pictures)
3. วรรณคดีสำ หรับอ่านให้นักเรียนฟัง (Literature)
4. ท่าทาง (Gesture)
5. วิธีการและกิจกรรม (Activities)
6. เพลงและเกม (Songs and Games)
7. บทบาทสมมุติ (Role Play)
1. ของจริง (Reality)
2. ภาพที่ผลิตขึ้นเองและภาพจากหนังสือพิมพ์ (Pictures)
3. วรรณคดีสำ หรับอ่านให้นักเรียนฟัง (Literature)
4. ท่าทาง (Gesture)
5. วิธีการและกิจกรรม (Activities)
6. เพลงและเกม (Songs and Games)
7. บทบาทสมมุติ (Role Play)
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น